วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บทที่4


บทที่4  วัฒนธรรมและการสื่อสารต่างวัฒนธรรม



1.Globalization: Globalization in its literal sense is the process of transformation of local phenomena into global ones. It can be described as a process by which the people of the world are unified into a single society and function together. This process is a combination of economic, technological, sociocultural and political forces.Globalization is often used to refer to economic globalization, that is, integration of national economies into the international economy through trade, foreign direct investment, capital flows, migration, and the spread of technology

โลกาภิวัตน์:กระบวนการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์ของคนในท้องถิ่นทั่วโลก เป็นกระบวนการที่คนทั้งโลกมีเอกภาพในสังคมเดียวกัน


2 . Stereotype : A generalized perception of first impressions. Stereotypes, therefore, can instigate prejudice and false assumptions about entire groups of people, including the members of different ethnic groups, social classes, religious orders, the opposite sex, etc. A stereotype can be a conventional and oversimplified conception, opinion, or image, based on the assumption that there are attributes that members of the "other group" have in common.

ต้นแบบ:ความคิดแบบดั้งเดิมและสมจริงสมจังในความคิดเห็นหรือภาพ ขึ้นอยู่กับสมมติฐานที่มีคุณสมบัติที่สมาชิกของกลุ่ม "คนอื่น" มีเหมือนกัน


3. Cultural shock: A condition of confusion and anxiety affecting a person suddenly exposed to an alien culture or milieu."The first time she went to Japan, Isabel got a huge culture shock."
ช็อตวัฒนธรรม :สภาพของความสับสนหรือตกใจของคนที่พบเห็นวัฒนธรรมที่แปลกใหม่ เช่น "ครั้งแรกที่เธอเดินไปยังประเทศญี่ปุ่น, อิซาเบลได้ช็อกวัฒนธรรมมาก."


4. Cultural diversity: The fact or quality of cultures of being diverse or different.Cultural diversity should be considered as a source of enrichment rather a source of conflicts.
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม: ความแตกต่างกันของความจริง คุณภาพหรือรูปแบบในวัฒนธรรม


5 .Values: Beliefs of a person or social group in which they have an emotional investment (either for or against something). "He has very conservatives values"

ค่าหรือค่านิยม:ความเชื่อของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีการลงทุนทางอารมณ์ เช่น "เขามีค่าอนุรักษ์นิยมมาก"


6 .วัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทาให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสาคัญ

7 .จารีต หมายถึง ประเพณีที่ถือสืบต่อกันมานาน.

8. ประเพณี หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่กาหนดพฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆที่คนในสังคมยึดถือปฏิบัติสืบกันมา

9 .ขนบธรรมเนียม หมายถึง แบบอย่างที่นิยมกันมา.

10. เทศกาล หมายถึง ช่วงเวลาที่กาหนดไว้เพื่อจัดงานบุญและงานรื่นเริงในท้องถิ่น

   บทความเรื่อง การเปลี่ยนแปลง

การเข้าไปอยู่ในวัฒนธรรมใหม่ของดิฉันคือการได้ไปอยู่ต่างประเทศครั้งแรก รู้สึกมีความสุขมากๆ ที่ได้มาศึกษาต่อที่ประเทศไต้หวัน ได้รู้วัฒนธรรมใหม่ๆ ดิฉันดีใจมากเมื่อได้เจออาหารใหม่ๆรสชาติที่แตกต่างจากประเทศของตนเอง ได้ไปเจอสังคมที่มีผู้คนมากมาย เป็นเมืองที่มีแสงสี ดิฉันดูแล้วไม่เหงาแน่ วันแรกที่นิฉันได้มาเรียน เพื่อนที่นี้น่ารักทุกคนเลย มีแต่คนผิวขาวฟแก้มสีชมพู มหาวิทยาลัยนี้เป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงแห่งในประเทศไต้หวัน ส่วนมากมีแต่คนจีน คนเกาหลี มาเรียน เราคิดในใจนี่คือประสบการณ์ที่ดีของเรานะกาญจนาเธอต้องเก็บเกี่ยวประสบการณ์ให้ได้มากที่สุด
                เราเข้ามาเรียนต่อที่นี่ผ่านไปสองสามวันรู้สึกคิดถึงบ้านคิดถึงอาหารที่ตัวเองเคยรับประทาน เหมือนเราเป็นคนแปลกหน้าในห้องเรียน เพราะแต่ล่ะคนมีแต่คนผิวขาวๆ นี่เราผิวดำอยู่คนเดียวเลย เริ่มรู้สึกว่าเราจะเรียนต่อที่นี่อย่างมีความสุขไมคนเราต้องใช้ชีวิตอย่างมีเพื่อนแต่นี่เพื่อนในห้องกับไม่ยิมมาพูดคุยกับเราเลย จึงทำให้ดิฉันรู้สึกแย่ลงไปในทันที
            ปัญหาที่อื่นก็มีนะทั้งเรื่องการเดินทางไปเรียนเราต้องขึ้นรถอะไรแบบไหนหรือต้องเดินเท้า เพราะที่ไต้หวันก็มีรถเยอะมากหลายสายหลายทางจนทำให้เราสับสนกับการต้องขึ้นรถไปเรียน แต่ถ้าจะเดินคงไม่ไหวเพราะที่เรียนก็ค่อนข้างไกลจากที่พัก แล้วค่าอาหารก็แพงกว่าบ้านเรา อยู่ที่นี้มีแต่งแสงสีและความสิ้นเปลือง ผู้คนที่นี้ไม่ค่อยมีน้ำใจเลย เดินชนเราก็ไม่ขอโทษ คิดถึงบ้านเรายังเลย คิดพ่อคิดถึงแม่ หนูคิดจังเลย แต่หนูต้องสู้เพื่ออนาคต เพราะดิฉันเลือกที่จะมาเป็นนักเรียนที่นี่ แล้วก็ต้องทำให้ได้
            ก็เลยมานั่งคิดแก้ปัญหาว่าถ้าเราไม่มีเพื่อนเพราะเรารอให้เพื่อนเข้ามาหาเรา เราก็เปลี่ยนเป็นเราก็เข้าหาเพื่อนก่อนสิเริ่มทักทาย เริ่มชวนเขาไปรับประทานอาหารไง  พอเรามีเพื่อนก็มีผลดีตามมาคือเราได้รู้จักร้านอาหารหลายๆประเทศรวมถึงได้รู้ร้านอาหารไทยในประเทศไต้หวันอีกด้วย แถมยังรู้จักร้านอาหารที่มีราคาถูก อร่อย และที่สำคัญได้เยอะมากๆ
            พอเราลองปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนในห้อง เริ่มจากการปรับตัวเราก่อนเป็นอันดับแรก เราได้ประสบการณ์มากมายจากประเทศไต้หวัน และได้อะไรมากมายจากสังคมที่นี่ ทั้งการเป็นอยู่ ทั้งเรื่องอาหาร เรื่องการจราจรของประเทศไต้หวัน พอเราปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่นี่ได้แล้วการไปเรียนในแต่ล่ะวันก็ทำให้เรามีความสุขและไม่เกียจคร้านการไปเรียน เพื่ออนาคตของตนเอง และที่สำคัญเพื่อครอบครัวที่รออยู่ทางบ้าน



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น